การจัดการดินและปุ๋ยในนาข้าว

คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคตะวันตก

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

       

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า

 

อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1-2

6

12

5-10

3

60-80

3

มากกว่า 2

3

6

มากว่า 10

0

มากว่า 80

0

 

 

 

 

จังหวัดกาญจนบุรี

ศักยภาพผลผลิตข้าว จากการใช้เทคโนโลยี จังหวัดกาญจนบุรี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูงและปานกลาง

1

>550

51

ผลผลิตต่ำ

3

350-450

49

 

           

       พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกได้แก่ ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ขาวดอกมะลิ 105 และข้าวพื้นเมืองบางส่วนกระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 1004 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กก./ไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

1004

L2

เหมาะปานกลาง

ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

937

 

       ผลการดำเนินงานจัดทำแผนที่ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวเบื้องต้นของจังหวัด กาญจนบุรี สรุปได้ว่าจังหวัดกาญจนบุรีมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตข้าวตามความ เหมาะสมของดินออกเป็น 3 ระดับ คือ R1 R3 และ R4 และไม่พบพื้นที่ที่แสดงศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวในระดับ R2

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0)

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

           ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

อินทรียวัตถุ

ที่วิเคราะห์ได้ (%)

ไนโตรเจนที่ต้องใส่

ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์

โพแทสเซียมที่สกัดได้

ข้าวไวต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ข้าวไม่ไว

ต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

< 1

9

18

< 5

6

< 60

6

1 - 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

>2

3

6

> 10

0

> 80

0

 

 

จังหวัดราชบุรี

 

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากและเหมาสมปานกลางในสัดส่วนใกล้เคียงกัน  การจัดการที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตได้มากกว่า 1,000      กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และ กข31

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

846

L2

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และ กข31

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

914

L3

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และ กข31

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

961

Loc

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และ กข31

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

1,057

 

 

 

จังหวัดเพชรบุรี

 

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1 และสุพรรณบุรี60  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากและเหมาสมปานกลาง ประมาณร้อยละ 80 และ 20 ตามลำดับ  การจัดการที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตได้มากกว่า 1,000      กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และสุพรรณบุรี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

1,067

L2

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และสุพรรณบุรี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

1,058

L3

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และสุพรรณบุรี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

969

Loc

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และสุพรรณบุรี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

881

 

 

 

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

       

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1 และขาวดอกมะลิ 105  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากและเหมาสมปานกลาง ประมาณร้อยละ 80 และ 20 ตามลำดับ  การจัดการที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตได้มากกว่า 1,000      กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 และ ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

885

L3

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 และ ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

929

Loc

สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 และ ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

 

 

 

จังหวัดตาก

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1 ชัยนาท 80 กข29  กข31 และข้าวพันธุ์พื้นเมือง เช่น บือแขะ  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก ปานกลาง บางพื้นที่ไม่เหมาะสม   การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่  โดยให้ผลิตได้สูงสุดมากว่า 900      กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1  ชัยนาท 1 ชัยนาท 80  กข29 และกข31

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

598

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

920

L2

สุพรรณบุรี 1  ชัยนาท 1 ชัยนาท 80  กข29 และกข31

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

628

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

673