คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคเหนือ
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8 |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า
อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้ |
ปริมาณไนโตรเจน |
ปริมาณฟอสฟอรัส |
ปริมาณโพแทสเซียม |
|||
ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
น้อยกว่า 1 |
9 |
18 |
น้อยกว่า 5 |
6 |
น้อยกว่า 60 |
6 |
1-2 |
6 |
12 |
5-10 |
3 |
60-80 |
3 |
มากกว่า 2 |
3 |
6 |
มากว่า 10 |
0 |
มากว่า 80 |
0 |
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวนาปรังของจังหวัดเชียงราย
พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่นาปรัง มี ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2, สุพรรณบุรี 1,สุพรรณบุรี 60 สันป่าตอง 1,กข10, ก.วก.1, ก.วก.2 และ Koshihikari กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินที่ต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 1,036 กิโลกรัมต่อไร่
คำแนะนำการจัดการเพาะปลูก และการใส่ปุ๋ยข้าวนาปรัง ตามพันธุ์ข้าวและระดับความเหมาะสมของดินนา จังหวัดเชียงราย
ดิน |
ชนิดข้าว |
การจัดการ |
ผลผลิตข้าวสูงสุด (กก./ไร่) |
เหมาะสมมาก |
สันป่าตอง 1 กข10 |
นาหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
958 |
ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2, สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 |
นาหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
1,036 |
|
ก.วก.1 , ก.วก.2 และ Koshihikari |
เริ่มปลูกเดือนมกราคม แบบนาดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
641 |
|
เหมาะสมปานกลาง |
สันป่าตอง 1 กข10 |
ปลูกเดือนมกราคม หว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
943 |
ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2, สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 |
นาหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
1,025 |
|
เหมาะสมน้อย |
สันป่าตอง 1 กข10 |
นาหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
963 |
ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2, สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60
|
นาดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
702 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้
สูตรปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0) |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0) |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0) |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน พิจารณาเลือกใช้อัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสเฟต และโพแทสเซียม ตามค่าความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดังนี้
อินทรียวัตถุ ที่วิเคราะห์ได้ (%) |
ไนโตรเจนที่ต้องใส่ |
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ |
โพแทสเซียมที่สกัดได้ |
|||
ข้าวไวต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) |
ข้าวไม่ไว ต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
< 1 |
9 |
18 |
< 5 |
6 |
< 60 |
6 |
1 - 2 |
6 |
12 |
5 – 10 |
3 |
60 – 80 |
3 |
>2 |
3 |
6 |
> 10 |
0 |
> 80 |
0 |
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
R1 |
> 550 |
|
ผลผลิตปานกลาง |
R2 |
450-550 |
|
ผลผลิตต่ำ |
R3 |
350-450 |
|
ผลผลิตต่ำมาก |
R4 |
< 350 |
|
รวม |
|
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1 เจ้าฮ้อ กวก. 1 และ กวก. 2 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก และพื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสม พื้นที่บางส่วนมีการปลูกพืชหมุนเวียนหรือพืชคุลมดิน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะ สมของดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการเพาะปลูก |
ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 |
พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1 |
ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
724 |
L2 |
พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1 |
ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
ไม่มีข้อมูล |
Loc |
พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1 |
ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
ไม่มีข้อมูล |
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
R1 |
> 550 |
|
ผลผลิตปานกลาง |
R2 |
450-550 |
|
ผลผลิตต่ำ |
R3 |
350-450 |
|
ผลผลิตต่ำมาก |
R4 |
< 350 |
|
รวม |
|
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข21 และข้าวพันธุ์พื้นเมืองต่าง ๆ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูง จึงถูกจัดว่าไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว แต่เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมปลูกข้าวไร่ สภาพเป็นนาน้ำฝน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ผลผลิตข้าสูงสุด 850 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการเพาะปลูก |
ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 |
สันป่าตอง1 |
ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
631 |
ขาวดอกมะลิ 105 |
ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
481 |
|
L2 |
IR77954-28-34-3 |
ปลูกแบบปักดำ -ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่ และ 0-46-0 อัตรา 13 กก./ไร่ -ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า46-0-0 อัตรา 3 กก./ไร่ |
864 |
กข21 |
ปลูกแบบปักดำ -ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่ และ 0-46-0 อัตรา 13 กก./ไร่ -ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่ ระยะแตกกอ -ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่ |
851 |
|
Loc |
เหนียวสันป่าตอง |
ปลูกแบบปักดำ -ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 4 กก./ไร่ -ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า46-0-0 อัตรา 3 กก./ไร่ |
601 |
ขาวดอกมะลิ 105 |
ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
800 |
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
R1 |
> 550 |
|
ผลผลิตปานกลาง |
R2 |
450-550 |
|
ผลผลิตต่ำ |
R3 |
350-450 |
|
ผลผลิตต่ำมาก |
R4 |
< 350 |
|
รวม |
|
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข10 และสันป่าตอง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการเพาะปลูก |
ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 |
กข6 |
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
725 |
L2 |
กข6 |
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
526 |
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
R1 |
> 550 |
|
ผลผลิตปานกลาง |
R2 |
450-550 |
|
ผลผลิตต่ำ |
R3 |
350-450 |
|
ผลผลิตต่ำมาก |
R4 |
< 350 |
|
รวม |
|
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 กข41 และ กข47 พื้นที่ปลูกข้าวมีทั้งนาน้ำฝนและพื้นที่ชลประทานมีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมากและปานกลางเป็นส่วนใหญ่ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 931 กิโลกรัมต่อไร่ หรือเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 45
ระดับความเหมาะสมของดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการเพาะปลูก |
ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 |
|
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
788 |
L2 |
|
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
757 |
L3 |
|
ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน |
931 |
L4 |
|
ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน |
840 |
ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดพะเยา
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
1 |
>550 |
89 |
ผลผลิตปานกลาง |
2 |
451-550 |
4 |
ผลผลิตต่ำ |
3 |
350-450 |
0 |
ผลผลิตต่ำมาก |
4 |
<350 |
7 |
รวม |
100 |
พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ข้าว กข6 รองลงมาได้แก่ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ข้าวเจ้าคุณภาพดี พันธุ์ กข15 และข้าวเหนียวอายุเบา ได้แก่พันธุ์สันป่าตอง 1 พันธุ์ดอสบเปา กระจายอยู่อยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดิน ที่ต่าง กัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมสามารถให้ผลผลิตให้ผลผลิตสูงสุด 681 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการเพาะปลูก |
ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 |
กข 6 |
ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
632 |
กข15 |
ปลูกแบบปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
681 |
|
ขาวดอกมะลิ105 |
ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
648 |
|
L2 |
ขาวดอกมะลิ105 |
ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
531 |
L3 |
สันป่าตอง 1 |
ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
614 |
Loc |
กข15 |
หว่านข้าวแห้งหรือปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ *หาแหล่งน้ำเพิ่มเติม |
622 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น16-20-0 หรือ 16-16-8 |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ |
ปริมาณไนโตรเจน |
ปริมาณฟอสฟอรัส |
ปริมาณโพแทสเซียม |
|||
ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
น้อยกว่า 1 |
9 |
18 |
น้อยกว่า 5 |
6 |
น้อยกว่า 60 |
6 |
1 - 2 |
6 |
12 |
5 - 10 |
3 |
60 - 80 |
3 |
มากกว่า 2 |
3 |
6 |
มากกว่า 10 |
0 |
มากกว่า 80 |
0 |
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดแพร่
ศักยะภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต(R) |
ระดับผลผลิต (กก.ไร่) |
% |
ผลผลิตสูงมาก |
1a |
>850 |
65 |
ผลผลิตสูง |
1b |
>701-850 |
35 |
ดิน |
พันธุ์ข้าว / พืชร่วมระบบ |
การจัดการ |
ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 |
กข10,สันป่าตอง 1/ พืชไร่ |
การปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
970 |
กข6และขาวดอกมะลิ 105 / พืชไร่ |
800 |
||
L2 |
กข10, สันป่าตอง 1 / พืชไร่ |
การปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
780 |
กข6 / พืชไร่ |
650 |
||
Loc |
กข10 |
การปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ |
760 |
กข6 |
740 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้
สูตรปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0) |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0) |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0) |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ ที่วิเคราะห์ได้ (%) |
ไนโตรเจนที่ต้องใส่ |
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ |
โพแทสเซียมที่สกัดได้ |
|||
ข้าวไวต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) |
ข้าวไม่ไว ต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
< 1 |
9 |
18 |
< 5 |
6 |
< 60 |
6 |
1 - 2 |
6 |
12 |
5 – 10 |
3 |
60 – 80 |
3 |
>2 |
3 |
6 |
> 10 |
0 |
> 80 |
0 |
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวของจังหวัดน่าน
ระดับความเหมาะสม |
R |
ระดับผลผลิต (กก.ไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
1 |
>550 |
100 |
ความเหมาะสมของดิน |
ระบบปลูกพืช |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการ |
ผลผลิตข้าว |
L1 |
ข้าว-พืชไร่ |
กข10 |
ปลูกโดยวิธีปักดำ |
902 |
L2 |
ข้าว-พืชไร่ |
เหนียวหวัน 1 |
ปลูกโดยวิธีปักดำ |
853 |
L3 |
ข้าว-พืชผัก(พริก) |
กข10 |
ปลูกโดยวิธีปักดำ |
1,070 |
ข้าวฤดูเดียว |
กข6 |
ปลูกโดยวิธีปักดำ |
763 |
|
Loc |
กข10 |
ปลูกโดยวิธีปักดำ |
825 |
|
กข6 |
ปลูกโดยวิธีปักดำ |
670 |
||
หมายเหตุ พืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง และยาสูบ เป็นต้น พืชผัก ได้แก่ พริก พืชผักต่าง ๆ |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8 |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน : ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ |
ปริมาณไนโตรเจน |
ปริมาณฟอสฟอรัส |
ปริมาณโพแทสเซียม |
|||
ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
น้อยกว่า 1 |
9 |
18 |
น้อยกว่า 5 |
6 |
น้อยกว่า 60 |
6 |
1 - 2 |
6 |
12 |
5 - 10 |
3 |
60 - 80 |
3 |
มากกว่า 2 |
3 |
6 |
มากกว่า 10 |
0 |
มากกว่า 80 |
0 |