การจัดการดินและปุ๋ยในนาข้าว

คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคกลาง

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

 

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า

 

อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1-2

6

12

5-10

3

60-80

3

มากกว่า 2

3

6

มากว่า 10

0

มากว่า 80

0

 

 

 

 

 

กรุงเทพมหานคร

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 950

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2  กข31 กข41 และสุพรรณบุรี 1  พื้นที่ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าว  การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ประมาณ ร้อยละ 30

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ปทุมธานี 1  พิษณุโลก 2

กข31(ปทุมธานี 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

959

L3

ปทุมธานี 1  พิษณุโลก 2

กข31(ปทุมธานี 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีข้อมูล

 

 

จังหวัดกำแพงเพชร

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

451-550

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2  กข31 กข29 กข41 กข47   และสุพรรณบุรี 1  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากและปานกลางเป็นส่วนใหญ่  การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่  โดยให้ผลผลิตสูงสุดได้มากกว่า 1,000 กิโลกรัมต่อไร่

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

พิษณุโลก 2  กข31 กข29  กข47  

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

1,055

L2

พิษณุโลก 2  กข31 กข29  กข47  

 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

975

 

 

จังหวัดชัยนาท

 

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2  กข31 กข29  กข47 และ กข41    พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก  และเหมาะสมปานกลางประมาณร้อยละ 70 และ 30 ตามลำดับ  การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60  ปทุมธานี 1 

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2   กข29 และ กข31   

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

957

L2

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60  ปทุมธานี 1 

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2   กข29 และ กข31   

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

926

Loc

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60  ปทุมธานี 1 

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2   กข29 และ กข31   

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีข้อมูล

 

 

 

จังหวัดนครนายก

 

        การใช้เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องและเหมาะสม สามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าว โดยรวมได้ยกระดับผลผลิตข้าวของจังหวัดนครนายก ให้สูงขึ้นประมาณ ร้อยละ 37 โดยในเขตชลประทาน จากระดับที่ 2 คือ ผลผลิต 450-550 กิโลกรัมต่อไร่ และระดับที่ 1 คือ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น มากกว่า 700 กิโลกรัมต่อไร่ และเพิ่มพื้นที่ที่ให้ผลผลิตมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ได้มากขึ้น ส่วนพื้นที่อาศัยน้ำฝน สามารถยกระดับศักยภาพการผลิต จากระดับที่ 2 เป็นระดับที่ 1 และปรับผลิตระดับที่ 4 ให้เป็นระดับที่ 2 ได้ ในเขตที่สามารถหาแหล่งน้ำเพิ่มเติมได้ ตามสัดส่วนของพื้นที่

ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดนครนายก

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

80

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูก ในฤดูนาปี ได้แก่ พันธุ์เหลืองประทิว 123 ขาวตาแห้ง 17 และ ขาวดอกมะลิ 105 และในฤดูนาปรัง ได้แก่ พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 และสุพรรณบุรี 60 กระจายตามสัดส่วนของพื้นที่ มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 720 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี 1,ชัยนาท 1

ปทุมธานี 1,พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

559

 

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม 
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

320

L2

เหมาะสมปานกลาง

สุพรรณบุรี 1,ชัยนาท 1
ปทุมธานี 1,พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่าน้ำตม 
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

685

L3

เหมาะสมน้อย

สุพรรณบุรี 1,ชัยนาท 1
ปทุมธานี 1,พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่าน้ำตม 
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

720

 

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,18-12-6 หรือ 16-20-0

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าว ตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวต่อช่วงแสง (กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง (กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้(ส่วนในล้าน ส่วน)

ที่ต้องใส่(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้(ส่วนในล้าน ส่วน)

ที่ต้องใส่(กก.K2O/ไร่)

 น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

  1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

 มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดนครปฐม

 

 

 

        ศักยภาพผลผลิตข้าว จากการใช้เทคโนโลยี จังหวัดนครปฐม การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตของพื้นที่ปลูกข้าวของจังหวัดจังหวัดนครปฐม  มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ให้เป็นระดับที่ ได้เกือบทั้งหมด  ตามสัดส่วนของพื้นที่   

 

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดนครปฐม

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

80

ผลผลิตปานกลาง

2

450-550

10

ผลผลิตน้อย

3

350-450

10

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เป็นที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดนครปฐม คือ พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 (65%) ปทุมธานี 1 (5%) และชัยนาท (5%) มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 1,085 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

1,085

L2

เหมาะสมปานกลาง

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

850

L3

เหมาะสมปานกลาง

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

710

 

        คำแนะนำการใช้เทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมการใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,18-12-6 หรือ 16-20-0

 25 กิโลกรัมต่อไร่

 30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

 5 กิโลกรัมต่อไร่

 10 กิโลกรัมต่อไร่

    

    ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ     12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน  ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าว ตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดนครสวรรค์

 

 

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1  กข31 กข41  กข47 และขาวดอกมะลิ 105  กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากและปานกลางเป็นส่วนใหญ่   การจัดการที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตมากกว่า  550 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1   กข31 กข41 กข47

และขาวดอกมะลิ105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

835

L2

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1   กข31 กข41 กข47

และขาวดอกมะลิ105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

486

L3

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1   กข31 กข41 กข47

และขาวดอกมะลิ105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

450

Loc

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1   กข31 กข41 กข47

และขาวดอกมะลิ105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

349

 

 

 

จังหวัดนนทบุรี

 

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2  กข31  และ กข41 และขายเป็นเมล็ดพันธุ์    พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก และเหมาะสมน้อย ประมาณร้อยละ 80 และ 20 ตามลำดับ    การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2   และ กข31

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

1,092

L2

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2   และ กข31 

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

1,116

 

 

 

จังหวัดปทุมธานี

 

        การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งหมด  ตามสัดส่วนของพื้นที่  

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดปทุมธานี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

100

 

       

        พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี อย่างน้อยมี 4 พันธุ์ ได้แก่ สุพรรณบุรี1 ชัยนาท1 พิษณุโลก2 และ ปทุมธานี1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 795 กิโลกรัมต่อไร่

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด
(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี 1, ชัยนาท 1
ปทุมธานี 1, พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม 
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

745

L3

เหมาะสมน้อย

สุพรรณบุรี 1, ชัยนาท 1
ปทุมธานี 1, พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม 
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

795

 

       การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6 หรือ 16-20-0

 25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

 5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

                ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

อินทรียวัตถุ

(%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

 ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  กข47 และ กข41    พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก และเหมาะสมน้อย เนื่องจากเป็นพื้นที่ดินเปรี้ยวประมาณร้อยละ 80 และ 20 ตามลำดับ  การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2   กข31

ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง 17  อยุธยา1 ปราจีนบุรี 1 กข 35

ปลูกวิธีหว่านน้ำตมหรือปลูกโดยวิธีโยนกล้า ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

873

 

 

550

L2

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2   กข31

ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง 17  อยุธยา1 ปราจีนบุรี 1 กข 35

ปลูกวิธีหว่านน้ำตมหรือปลูกโดยวิธีโยนกล้า ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

700

 

 

 

500

L3

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2   กข31

ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง 17  อยุธยา1 ปราจีนบุรี 1 กข 35

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตมหรือปลูกโดยวิธีโยนกล้า ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

631

 

 

450

 

 

 

จังหวัดพิจิตร

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดพิจิตร

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

100

       

พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่จังหวัดพิจิตร สุพรรณบุรี1 ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1กระจายอยู่ตามพื้นที่   ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 961 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด(กก./ไร่)

L1เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี1

ขาวดอกมะลิ105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

947

L2

เหมาะสมปานกลาง

สุพรรณบุรี1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

961

L3เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ105

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

710

 

       การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,18-12-6หรือ 16-20-0

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

                       

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

 

ปริมาณไนโตรเจน

 

ปริมาณฟอสฟอรัส

 

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดพิษณุโลก

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดพิษณุโลก

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

95

พื้นที่อื่นๆ

   

5

 

 

        พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกได้แก่ สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2ชัยนาท 1 ขาวดอกมะลิ 105 กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 1,022 กิโลกรัม ต่อไร่
 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี 1

พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

1,022

L2

เหมาะสมปานกลาง

สุพรรณบุรี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

890

L3เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกวิธีปักดำ

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

780

 

        การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8

18-12-6 หรือ 16-20-0

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

              

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

 น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

 1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

 มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดเพชรบูรณ์

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากเป็นส่วนใหญ่ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้สูงสุด 550   กิโลกรัมต่อไร่ เกือบทั้งหมด

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

587

L2

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

518

L3

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีใข้อมูล

Loc

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีใข้อมูล

 

 

 

จังหวัดลพบุรี

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1  กข31  และ   กข41 กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ และเหมาะสมปานกลางประมาณร้อยละ 20  การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1

พิษณุโลก 2   กข31 และ กข41

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

914

L2

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1

พิษณุโลก 2   กข31  และ

กข41

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

L3

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1

พิษณุโลก 2   กข31 และ กข41

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

349

 

 

 

จังหวัดสมุทรปราการ

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1  กข41   และสุพรรณบุรี 90  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก ส่วนใหญ่อยู่ด้านบนของอำเภอบางบ่อ   การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ ประมาณร้อยละ 20 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

849

 

 

 

จังหวัดสมุทรสงคราม

 

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

451-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1  ปทุมธานี 60   และสุพรรณบุรี 1  พื้นที่ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก พื้นที่ปลูกข้าวน้อยมาก ไม่ได้ทำการทดสอบเทคโนโลยีแต่สามารถให้คำแนะนำการปลูกข้าวเช่นเดียวกับจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดสมุทรสาคร

 

 

 

จังหวัดสมุทรสาคร

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1  กข31   และสุพรรณบุรี 60  พื้นที่มากกว่าร้อยละ 50 มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก ส่วนใหญ่อยู่ด้านบนของอำเภอบางบ่อ   การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ ประมาณร้อยละ 20 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

พิษณุโลก 90

 

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

735

 

 

 

จังหวัดสระบุรี

        พันธุ์ข้าวนาปีที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสระบุรี อย่างน้อยมี 6 พันธุ์ คือ ขาวดอกมะลิ 105 ขาวตาแห้ง 17 เจ๊กเชย เหลืองพานทอง พวงเมล็ดสั้น และ พวงขนุน กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 500 กิโลกรัมต่อไร่

ตารางแสดง ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสระบุรี

 

         พันธุ์ข้าวนาปรังที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสระบุรี อย่างน้อยมี 4 พันธุ์ ได้แก่ สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท1 พิษณุโลก 2 และ ปทุมธานี 1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมแตกต่างกัน สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 750 กิโลกรัมต่อไร่

 

 ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

90

พื้นที่ไม่เหมาะสม

   

10

        

       

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด
(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี 1

ชัยนาท 1

ปทุมธานี 1

พิษณุโลก 2

กข31

(ปทุมธานี 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

750

 

ขาวดอกมะลิ105

ขาวตาแห้ง17

เหลืองพานทอง

กข35 (รังสิต 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

L2

เหมาะสมปานกลาง

สุพรรณบุรี 1

ชัยนาท 1

ปทุมธานี 1

พิษณุโลก 2

กข31

(ปทุมธานี 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

700

 

ขาวดอกมะลิ 105

ขาวตาแห้ง 17

เหลืองพานทอง

กข35 (รังสิต 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

500

L3

เหมาะสมปานน้อย

สุพรรณบุรี 1

ชัยนาท 1

ปทุมธานี 1

พิษณุโลก 2

กข31

(ปทุมธานี 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

600

 

ขาวดอกมะลิ 105

ขาวตาแห้ง 17

เหลืองพานทอง

กข35 (รังสิต 80)

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

450

 

       การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6หรือ 16-20-0

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

       

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

 

 อินทรียวัตถุ (%)

 ที่วิเคราะห์ได้

 ปริมาณไนโตรเจน

 ปริมาณฟอสฟอรัส

 ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง
(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่
(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่)

 น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

  1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

 มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดสิงห์บุรี

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

       

พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 กข31 และ กข41    พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก ประมาณร้อยละ 90 ของพื้นที่  การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41   

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

1,042

L2

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41   

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

L3

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41   

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

Loc

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1

ชัยนาท 1  พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41   

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

 

 

จังหวัดสุโขทัย

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 850

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

701-850

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2  กข41 กข47  และชัยนาท 1  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากเป็นส่วนใหญ่  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้สูงสุด 868 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มผลผลิตข้าวได้ ร้อยละ 27

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

พิษณุโลก 2  กข41 กข47 ชัยนาท 1

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

868

L2

พิษณุโลก 2  กข31 กข29  กข47

 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

796

L3

พิษณุโลก 2  กข41 กข47 ชัยนาท 1

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

752

Loc

พิษณุโลก 2  กข31 กข29  กข47

 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

859

 

 

 

จังหวัดสุพรรณบุรี

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสุพรรณบุรี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

100

 

        พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ สุพรรณบุรี 1เป็นส่วนใหญ่ ส่วนสุพรรณบุรี 2 พันธุ์อื่น ๆ  มีเพียงเล็กน้อย กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 887 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

887

L2

เหมาะปานกลาง

สุพรรณบุรี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน

722

      

 

       การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร16-20-0,18-12-6 หรือ12-18 -6  เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 18-12-6 , 12-18-6 หรือ 16-20-0

25 กิโลกรัมต่อไร

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดอ่างทอง

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดอ่างทอง

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต ( R )

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

95

พื้นที่ไม่เหมาะสม

   

5

 

        พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง ได้แก่ สุพรรณบุรี1 ปทุมธานี1 ชัยนาท1 และ สุพรรณบุรี 2  กระจายอยู่ตามพื้นที่ชลประทาน ส่วนนาในที่ลุ่มปลูกข้าวไวต่อช่วงแสงเพียงเล็กน้อย มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 925 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

สุพรรณบุรี 1

ชัยนาท 1ปทุมธานี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

925

L2

เหมาะสมปานกลาง

สุพรรณบุรี 1

เหลืองประทิวชัยนาท 1ปทุมธานี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

646

 

 

 คำแนะนำการใช้เทคโนโลยีตามศักยภาพการผลิต

        ในนาดินเหนียว

  • พันธุ์ข้าวนาปรังไม่ไวต่อช่วงแสง  (อายุเก็บเกี่ยวไม่ เกิน 120 วัน)
  • ปุ๋ยครั้งแรก ใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟต สูตร 16-20-0 ในอัตรา 30 กก./ไร่ ในระยะ 20 วันหลังหว่านข้าว
  • ครั้งที่สอง และครั้งที่สาม   ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) ในอัตรา  10 กก./ไร่ ในระยะข้าวแตกกอ

สูงสุด และกำเนิดช่อดอก (45 และ 60 วันหลังหว่านข้าว)

  • พันธุ์ข้าวนาปีไวต่อช่วงแสง
  • ปุ๋ยครั้งแรก   ใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟต สูตร 16-20-0 ในอัตรา 25 กก./ไร่ ใน

ระยะ    20-30 วันหลังหว่านข้าว

  • ปุ๋ยครั้งที่สอง   ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) ในอัตรา 10 กก./ไร่ ในระยะข้าวกำเนิดช่อดอก

ขณะใส่ปุ๋ยระดับน้ำควรมีความลึกระหว่าง 30-50 เซนติเมตร

 

        ในนาดินทราย

                 การใส่ปุ๋ยครั้งแรกใส่ปุ๋ยเคมีสูตร16-12-8 หรือสูตร 18-12-6 ใน อัตรา 30 กก./ไร่ สำหรับข้าวนาปรังไม่ไวต่อช่วงแสง และอัตรา 25 กก./ไร่ สำหรับข้าวนาปีไวต่อช่วงแสง สำหรับการใส่ปุ๋ยครั้งที่สองและสาม ใช้ปุ๋ยเคมีตามชนิดและอัตราเช่นเดียวกันกับนาดินเหนียว

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

  ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดอุทัยธานี

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 3 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1  กข31  และ    กข47 กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวปานกลางเป็นส่วนใหญ่   การจัดการที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตมากกว่า  550 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1   กข31 และ กข47

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

702

L2

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1   กข31 และ กข47

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

L3

สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 

พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1   กข31 และ กข47

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550