ลักษณะประจำพันธุ์ |
- |
เป็นข้าวเจ้าไวต่อช่วงแสง สูงเฉลี่ย 160-170 เซนติเมตร |
|
- |
อายุเก็บเกี่ยว 10 ธันวาคม |
|
- |
ทรงกอตั้ง ใบสีเขียว ใบธงหักลง คอรวงยาว |
|
- |
เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ขนสั้น |
|
- |
เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 10.3 x 2.5 x 2.0 มิลลิเมตร |
|
- |
เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 7.7 x 2.1 x 1.7 มิลลิเมตร |
|
- |
ปริมาณอมิโลสสูง (27.1%) ,คุณภาพข้าวสุกค่อนข้างแข็ง |
|
- |
ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุ์ประมาณ 6-7 สัปดาห์ |
ผลผลิต |
- |
ประมาณ 812 กิโลกรัมต่อไร่ |
ลักษณะเด่น
|
-
|
ข้าวสารมีคุณภาพดีแบบข้าวเสาไห้ หุงขึ้นหม้อ ร่วนเป็นตัวไม่เกาะกัน
เนื้อสัมผัสจากการชิมค่อนข้างแข็ง แต่มีความนุ่ม ไม่แข็งกระด้าง
|
|
- |
สามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เส้นและขนมได้ดี |
|
- |
สามารถ ปลูกได้ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงในเรื่องน้ำท่วม เนื่องจากเป็นข้าวต้นสูงและทนน้ำท่วมได้ดีกว่าข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงในพื้นที่เดียวกัน |
ข้อควรระวัง |
- |
ไม่ต้านทานต่อโรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล |
พื้นที่แนะนำ
|
-
|
จังหวัดสระบุรีและใกล้เคียงที่มีนิเวศการเกษตรคล้ายคลึงกันเมล็ดข้าวเปลือก
และข้าวสารสายพันธุ์ PTTC02019-1 |