การจัดการดินและปุ๋ยในนาข้าว

คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า

 

อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1-2

6

12

5-10

3

60-80

3

มากกว่า 2

3

6

มากว่า 10

0

มากว่า 80

0

 

 

 

 

 

 

จังหวัดกาฬสินธุ์

ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดศรีสะเกษ

        การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่และส่วนน้อยที่ได้ผลผลิตระหว่าง 351-450 กิโลกรัมต่อไร่  ตามสัดส่วนของพื้นที่  

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

95

                      

 

        พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกร้อยละ 90 เป็นข้าวหอมมะลิ   คือพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข 15 ผลผลิตข้าวเจ้าประมาณร้อยละ 70  เป็นการผลิตเพื่อจำหน่าย ส่วนข้าวเหนียวกข6 จะผลิตเพื่อบริโภค การปลูกข้าวยังคงอาศัยน้ำฝนเป็นหลัก มีการจัดการ เพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด  888  กิโลกรัม ต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

-

ไม่มีข้อมูล

-

L 2

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

หว่านข้าวแห้งหรือปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

888

L 3

เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

หว่านข้าวแห้งหรือปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

552

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

 

ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 16 – 16 – 8 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังข้าวงอกประมาณ 30 วัน ในนาหว่านข้าวแห้ง (กรณีที่ไม่มีน้ำในนา 

           หรือดินแห้งอาจใส่ไม่ได้ตามกำหนด ให้ใส่เมื่อมีน้ำในนาแล้ว) หรือหลังปักดำประมาณ 7-10 วัน อัตรา 20 กิโลกรัม 

           ต่อไร่

 

ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46 – 0 – 0) อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะกำเนิดช่อดอก

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ

(%)

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

ไม่ไวแสง

วิเคราะห์ได้

ที่ต้องใส่

วิเคราะห์ได้

ที่ต้องใส่

(กก. N/ไร่)

(กก. N/ไร่)

(พีพีเอ็ม.)

(กก. P2O5/ไร่)

(พีพีเอ็ม.)

(กก. K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดขอนแก่น

 

ศักยภาพการให้ ผลผลิตข้าว ของจังหวัดขอนแก่น

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก./ไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

75

 

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

862

L2

เหมาะสมปานกลาง

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

792

L3

เหมาะสมน้อย

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

375

  

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8, เป็น ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 - 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดชัยภูมิ

ระดับศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยีของจังหวัดชัยภูมิ

        การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ สามารถยกระดับผลผลิตข้าวขึ้นมาที่ระดับมากกว่า          550 กก./ไร่ ร้อยละ 62

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต

ผลผลิต(กก.ต่อไร่)

ร้อยละที่เพิ่มขึ้น

ผลผลิตสูง

R1

>550

62

 

 

        พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ได้แก่พันธุ์ กข6 ส่วนนาดอนเกษตรกรนิยมปลูกพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มากกว่าพันธุ์ กข6 พันธุ์อื่นๆที่พบคือพันธุ์กำผาย ขาวตาแห้ง เหลืองปลาซิว อีขาวหลวง เจ้าลอยในนาลุ่มมาก ถ้ามีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 683 กิโลกรัมต่อไร่    

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด (กก./ไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ 105

กข6

ขาวตาแห้ง

ปลูกโดยการปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

683

L2

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ 105

กข6

ขาวตาแห้ง

ปลูกโดยการปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

596

L3

เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ 105

กข6

ขาวตาแห้ง

ปลูกโดยการปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

532

L4

ไม่เหมาะสม

ขาวดอกมะลิ 105

กข6

ขาวตาแห้ง

ปลูกโดยการปักดำช่วง

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

574

 

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

 

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้

 

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 - 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดนครราชสีมา

 

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6  กข15 และ ชัยนาท 2  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ไม่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าว แต่พื้นที่บางส่วนมีความเหมาะสมมากและปานกลาง  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 902 กิโลกรัมต่อไร่  และเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 60

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข15

ปลูกแบบหว่านข้าวแห้งและปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

628

L2

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

556

L3

ขาวดอกมะลิ 105 กข15 เหลืองปะทิว

มะลิใหญ่

ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

579

L4

ขาวดอกมะลิ 105

เหลืองใบตัด

ปลูกแบบหว่านข้าวแห้งและปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

902

 

 

จังหวัดบุรีรัมย์

ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดบุรีรัมย์

 

          การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งหมดตามสัดส่วนของพื้นที่  

  

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

100

 

 

           พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไว ต่อช่วงแสง  ขาวดอกมะลิ105 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด …761……. กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวเฉลี่ย
( กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ105 
 

ปลูกวิธีปักดำ
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

699

L2

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ105 
 

ปลูกวิธีปักดำ
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

633

L3

เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ105

ปลูกวิธีปักดำ
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

597

 

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังวันปักดำข้าว 7-10 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวตั้งท้อง โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะที่ใส่

ชนิดดิน

ปุ๋ยเคมีสูตร

อัตรากิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยรองพื้น

ดินทราย

16-16-8

20-25

ปุ๋ยแต่งหน้า

 

46-0-0

7-10

 

หมายเหตุ ควรปลูกช่วงเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม  (เมื่อมีน้ำพอเพียงในการเตรียมดิน)

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)
ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้
(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้
(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดมหาสารคาม

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

       

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  กข15 และ กข6  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมต่อ          การปลูกข้าวปานกลาง  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 890 กิโลกรัมต่อไร่  และเพิ่มผลผลิตข้าว             ได้ประมาณร้อยละ 60

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

810

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

630

L3

ขาวดอกมะลิ 105 กข6

ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

890

L4

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

580

 

 

 

จังหวัดมุกดาหาร

 

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  กข15 กข6 และปทุมธานี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลางและไม่เหมาะสมอย่างละร้อยละ 50   การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 627 กิโลกรัมต่อไร่  แต่มีระดับผลผลิตส่วนใหญ่ 350-450 กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

627

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

538

Loc

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

420

 

 

จังหวัดยโสธร

 

ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดยโสธร

 

        การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ประมาณร้อยละ 50 ตามสัดส่วนของพื้นที่  

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

55

ผลผลิตปานกลาง

2

450 - 550

5

ผลผลิตต่ำ

3

350 - 450

25

ไม่มีข้อมูล

   

15

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยม 100 เปอร์เซ็นต์เป็นข้าวไวต่อช่วงแสงพันธุ์ข้าวรัฐบาล ส่วนใหญ่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกรองลงมาคือ กข6 และ กข15 ตามลำดับ เป็นการปลูกข้าวโดยอาศัยน้ำฝนอย่างเดียว และกระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด  576 กิโลกรัมต่อไร่

  ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน

576

L2

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน

537

L3

เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

557

L4

ไม่เหมาะสม

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

408

 

 

การใส่ปุ๋ยข้าวตามคำแนะนำ

ครั้งที่

สูตรปุ๋ย

อัตราปุ๋ย (กิโลกรัม/ไร่)

ระยะเวลาที่ใส่

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

 

1

16-16-8

25

30

-     นาหว่าน: ข้าวอายุ 20 วัน

-     นาดำ : ไม่เกิน 7 วันหลังปักดำ

2

46-0-0

-

10

ข้าวแตกกอสูงสุด

3

46-0-0

10

10

ระยะกำเนิดช่อดอก

 

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

อินทรียวัตถุ

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

(%)

ข้าวไวแสง

ไม่ไวแสง

วิเคราะห์ได้

ที่ต้องใส่

วิเคราะห์ได้

ที่ต้องใส่

 

(กก. N/ไร่)

(กก. N/ไร่)

(พีพีเอ็ม)

(กก. P2O5/ไร่)

(พีพีเอ็ม)

(กก. K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดร้อยเอ็ด

 

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6  กข15 และ ชัยนาท 1  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝนมีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 722 กิโลกรัมต่อไร่  และเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 40

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

722

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

581

L3

ขาวดอกมะลิ 105 กข6

ปลูกแบบปักดำและหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

485

L4

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

496

 

 

 

จังหวัดเลย

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  กข15 กข6 แนะชัยนาท 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง ประมาณร้อยละ 20 และไม่เหมาะสมร้อยละ 80    การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

594

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

Loc

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

550

 

 

จังหวัดศรีสะเกษ

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  กข15 กข6 แนะชัยนาท 1   พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

641

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำและหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

479

L3

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง  ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

450

 

 

จังหวัดสกลนคร

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ระดับผลผลิตข้าวและพื้นที่นาตามระดับผลผลิตของจังหวัดสกลนคร

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ผลผลิต

(กก./ไร่)

พื้นที่ (ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

มากกว่า 550

174,219

8.64

ผลผลิตปานกลาง

2

451-550

1,096,521

54.35

ผลผลิตต่ำ

3

350-450

746,600

37.01

ผลผลิตต่ำมาก

4

น้อยกว่า 350

-

-

รวม

2,017,340

100

 

 

คำแนะนำการปลูกข้าวในแต่ละระดับความเหมาะสมของดินจังหวัดสกลนคร

 

ความเหมาะสมของดิน

การจัดการ

ผลผลิตข้าวเฉลี่ย

L1, เหมาะสมมาก

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

627 กก./ไร่

L2, เหมาะสมปานกลาง

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

538 กก./ไร่

L4, ไม่เหมาะสม

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

420 กก./ไร่

 

หมายเหตุ

        พันธุ์ข้าว : ใช้พันธุ์ กข6  หรือ ขาวดอกมะลิ 105 หรือ กข15

 

 

จังหวัดสุรินทร์

ระดับศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดสุรินทร์

        การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ เกินกว่าร้อยละ 50   ตามสัดส่วนของพื้นที่  

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

> 550

55

ผลผลิตปานกลาง

2

450-550

45

 

        พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในจังหวัดสุรินทร์ คือพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และ พันธุ์ กข15 ซึ่งถือว่าเป็นสุดยอดข้าวหอมมะลิไทยจนได้รับการกล่าวขานว่าเมื่อหุงเป็นข้าว สุกมีลักษณะ “หอม ยาว ขาว นุ่ม” ข้าวทั้งสองพันธุ์เป็นข้าวไวต่อช่วงแสง เกือบทั้งหมดปลูกข้าวโดยอาศัยน้ำฝนอย่างเดียว และกระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด  740 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข15

หว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือ

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

468

L2

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข15

หว่านแห้งและปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

740

L 3

เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข15

หว่านแห้งและปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

675

 

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ 

 

                ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 16 – 16 – 8, เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังข้าวงอกประมาณ 30 วัน ในนาหว่านข้าวแห้ง(กรณีที่ไม่มีน้ำในนาหรือดินแห้งอาจใส่ไม่ได้ตามกำหนด ให้ใส่เมื่อมีน้ำในนาแล้ว) หรือหลังปักดำประมาณ 7-10 วัน อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่

 

                ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46 – 0 – 0)อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะกำเนิดช่อดอก

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ1 (%)

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

ไม่ไวแสง

วิเคราะห์ได้2

ที่ต้องใส่

วิเคราะห์ได้3

ที่ต้องใส่

(กก. N/ไร่)

(กก. N/ไร่)

(พีพีเอ็ม.)

(กก. P2O5/ไร่)

(พีพีเอ็ม.)

(กก. K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดหนองคาย

 

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดหนองคาย

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

10

ผลผลิตปานกลาง

2

450-550

20

ผลผลิตต่ำ

3

350-450

20

ผลผลิตต่ำมาก

4

<350

50

 

 

        พันธุ์ข้าวที่นิยมมากที่สุดปลูกในพื้นที่จังหวัดหนองคาย ได้แก่ กข6 เป็น ครึ่งหนึ่ง รองไปได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 และ กข15  กระจายอยู่ตามพื้นที่ลุ่มและค่อนข้างลุ่ม  ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 629กิโลกรัมต่อไร่
 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

629

L2

เหมาะปานกลาง

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน

511

L3

เหมาะสมน้อย

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

323

L4

ไม่เหมาะสม

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

425

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8  เป็นปุ๋ยรอง พื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 - 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดหนองบัวลำภู

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  กข15 กข6 และปทุมธานี 1  เนื่องจากข้อมจำกัดทั้งด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน และความเสี่ยงจากสภาพแห้งแล้ง เมือ่ฝนทิ้งช่วงทำให้การปลูกข้าวแม้จัดการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินแล้ว สามารถยกระดับผลผลิตได้ไม่สูงนัก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลางและพื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว   การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

504

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

500

L3

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

357

Loc

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

236

 

 

จังหวัดอำนาจเจริญ

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1  สุพรรณบุรี 1  ปทุมธานี 1  กข41 และ กข47 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ไม่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าว แต่พื้นที่บางส่วนมีความเหมาะสมปานกลาง  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณร้อยละ 20 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

487

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

581

L3

ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

485

L4

ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

496

 

 

 

จังหวัดอุดรธานี

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  กข15 กข6 และกข10   เนื่องจากข้อมจำกัดทั้งด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน และความเสี่ยงจากสภาพแห้งแล้ง เมือ่ฝนทิ้งช่วงทำให้การปลูกข้าวแม้จัดการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินแล้ว สามารถยกระดับผลผลิตได้ไม่สูงนัก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมากประมาณร้อยละ 10 เหมาะสมปานกลางร้อยละ 30 และเหมาะสมร้อยละ 50 การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีข้อมูล

L2

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

512

L3

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

385

Loc

ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีข้อมูล

 

 

 

จังหวัดอุบลราชธานี

ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดอุบลราชธานี

        การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ประมาณร้อยละ 50   ตามสัดส่วนของพื้นที่  

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

50

ผลผลิตปานกลาง

2

450-550

50

 
 

       

        พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีอย่างน้อยมี 3 พันธุ์ ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105

กข15 กข6 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 708 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

708

L2

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน

682

L3

เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

489

L4

ไม่เหมาะสม

ขาวดอกมะลิ 105

กข15

กข6

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน

522

 

 

        การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8,16-12-8,18-12-6 หรือ16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6 หรือ 16-20-0

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร

 

 

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0