คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคตะวันออก
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8 |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า
อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้ |
ปริมาณไนโตรเจน |
ปริมาณฟอสฟอรัส |
ปริมาณโพแทสเซียม |
|||
ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
น้อยกว่า 1 |
9 |
18 |
น้อยกว่า 5 |
6 |
น้อยกว่า 60 |
6 |
1-2 |
6 |
12 |
5-10 |
3 |
60-80 |
3 |
มากกว่า 2 |
3 |
6 |
มากว่า 10 |
0 |
มากว่า 80 |
0 |
ศักยภาพผลผลิตข้าว จากการใช้เทคโนโลยี จังหวัดปราจีนบุรี
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กก.ไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
1 |
>550 |
80 |
เนื่องจากเป็นพื้นที่อาศัยน้ำฝนร้อยละ 86 ดังนั้น พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไวต่อช่วงแสงทั้งข้าวพันธุ์พื้นเมืองและข้าวพันธุ์รัฐบาล ได้แก่ เหลืองใหญ่, ช่อไสว,จินตหรา ขาวดอกมะลิ105, ปทุมธานี 60, ปราจีนบุรี1 ที่เหลือเป็นข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง ได้แก่สุพรรณบุรี1, ชัยนาท1, ปทุมธานี 1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 849 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการ |
ผลผลิตข้าวเฉลี่ย |
---|---|---|---|
L1 |
ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1,ขาวตาแห้ง |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม และหว่านข้าวแห้ง |
703 |
L2 |
ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1,ขาวตาแห้ง |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม |
699 |
L3 |
ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1,ขาวตาแห้ง |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม |
628 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8, และ16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวเริ่มสร้างรวงอ่อน โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะที่ใส่ปุ๋ย |
ชนิดดิน |
ปุ๋เคมีสูตร |
อัตรากิโลกรัมต่อไร่ |
|
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
|||
ปุ๋ยรองพื้น |
ดินเหนียว/ดินทราย |
16-16-8, /16-20-0 |
20-25 |
30-35 |
ปุ๋ยแต่งหน้า |
|
46-0-0 |
5-10 |
10-15 |
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) |
ปริมาณไนโตรเจน |
ปริมาณฟอสฟอรัส |
ปริมาณโพแทสเซียม |
|||
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) |
ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
น้อยกว่า 1 |
9 |
18 |
น้อยกว่า 5 |
6 |
น้อยกว่า 60 |
6 |
1 – 2 |
6 |
12 |
5 - 10 |
3 |
60 - 80 |
3 |
มากกว่า 2 |
3 |
6 |
มากกว่า 10 |
0 |
มากกว่า 80 |
0 |
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสระแก้ว
เนื่องจากเป็นพื้นที่อาศัยน้ำฝน พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดสระแก้วส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไวต่อช่วง แสง ขาวดอกมะลิ105 รองลงมาเป็น เหลืองประทิวและขาวตาแห้ง มีพันธุ์พื้นเมืองเล็กน้อย เช่น ข้าวเหลือง และ ขาวกอเดียวกระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 782 กิโลกรัมต่อไร่
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8, และ16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังวันปักดำหรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวเริ่มสร้างรวงอ่อน โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
|
ศักยภาพการให้ผลผลิตจังหวัดฉะเชิงเทรา
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ค่าระดับผลผลิต |
ระดับผลผลิต(กก./ไร่) |
อัตราร้อยละ |
สูง |
R 1 |
>550 |
76 |
ปานกลาง |
R 2 |
450-550 |
0.5 |
ต่ำ |
R 3 |
350-450 |
23.5 |
ดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการ |
ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก |
พิษณุโลก 2 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
803 |
L3 เหมาะสมน้อย |
สุพรรณบุรี 1 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
515 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็น ปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้
ระยะเวลาในการใส่ปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0) |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0) |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0) |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ ที่วิเคราะห์ได้ (%) |
ไนโตรเจนที่ต้องใส่ |
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ |
โพแทสเซียมที่สกัดได้ |
|||
ข้าวไวต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
< 1 |
9 |
18 |
< 5 |
6 |
< 60 |
6 |
1 - 2 |
6 |
12 |
5 – 10 |
3 |
60 – 80 |
3 |
>2 |
3 |
6 |
> 10 |
0 |
> 80 |
0 |
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดระยอง
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กก.ไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
1 |
>550 |
77 |
ผลผลิตปานกลาง |
2 |
450 - 550 |
23 |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูก ในฤดูนาปี ได้แก่ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 นางเสมอ ขาวปทุม และข้าวเหลือง และในฤดูนาปรัง ได้แก่ พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 และพิษณุโลก 2 พันธุ์ข้าวนาปรังที่อย่างน้อยมี 4 พันธุ์ ได้แก่ สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 และ ปทุมธานี 1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมแตกต่างกัน สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 750 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการ |
ผลผลิตสูงสุด |
(L1) เหมาะสมมาก |
ขาวดอกมะลิ 105ปทุมธานี 60 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
750 |
|
ขาวดอกมะลิ 105 ปทุมธานี 60 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน |
724 |
(L2) เหมาะสมปานกลาง |
ขาวดอกมะลิ 105 ปทุมธานี 60 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
565 |
|
ขาวดอกมะลิ 105 ปทุมธานี 60 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน |
611 |
(L4) ไม่เหมาะสม |
สุพรรณบุรี 1 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ |
647 |
|
สุพรรณบุรี 1 |
ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน |
626 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย |
ข้าวไวต่อช่วงแสง |
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6 หรือ 16-20-0 |
25 กิโลกรัมต่อไร่ |
30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 |
5 กิโลกรัมต่อไร่ |
10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ ที่วิเคราะห์ได้ |
ปริมาณไนโตรเจน |
ปริมาณฟอสฟอรัส |
ปริมาณโพแทสเซียม |
|||
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) |
ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) |
ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) |
ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) |
ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) |
ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
|
น้อยกว่า 1 |
9 |
18 |
น้อยกว่า 5 |
6 |
น้อยกว่า 60 |
6 |
1 – 2 |
6 |
12 |
5 - 10 |
3 |
60 - 80 |
3 |
มากกว่า 2 |
3 |
6 |
มากกว่า 10 |
0 |
มากกว่า 80 |
0 |
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต |
ระดับผลผลิต (R) |
ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) |
% |
ผลผลิตสูง |
R1 |
> 550 |
|
ผลผลิตปานกลาง |
R2 |
450-550 |
|
ผลผลิตต่ำ |
R3 |
350-450 |
|
ผลผลิตต่ำมาก |
R4 |
< 350 |
|
รวม |
|
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากเป็นส่วนใหญ่ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้สูงสุด 550 กิโลกรัมต่อไร่ เกือบทั้งหมด
ระดับความเหมาะสมของดิน |
พันธุ์ข้าว |
การจัดการเพาะปลูก |
ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 |
ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 |
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน |
587 |
L2 |
ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 |
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน |
518 |
L3 |
ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 |
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน |
ไม่มีใข้อมูล |
Loc |
ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 |
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน |
ไม่มีใข้อมูล |