การจัดการดินและปุ๋ยในนาข้าว

คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคใต้

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

 

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า

 

อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1-2

6

12

5-10

3

60-80

3

มากกว่า 2

3

6

มากว่า 10

0

มากว่า 80

0

 

 

 

 

 

จังหวัดกระบี่

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

   

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมืองสังข์หยดพัทลุง  ดอกพะยอม และปทุมธานี 1  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก  พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่   โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620 กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

560

L2

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

618

L3

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

414

Loc

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

322

 

 

 

จังหวัดชุมพร

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง เฉี้ยงพัทลุง ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 และปทุมธานี1  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก  พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่   โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 60

ปทุมธานี 1  สุพรรณบุรี 90

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

600-1,000

 

 

จังหวัดตรัง

​​

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวของจังหวัดตรัง

 ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก./ไร่)

พื้นที่ (ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

4,938

100

 

           พันธุ์ข้าวนาปีที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดตรัง และสามารถให้ผลผลิต ได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ คือพันธุ์เล็บนกปัตตานี   ส่วนพันธุ์อื่น ๆ ไม่มีข้อมูลจากแปลงทดสอบ

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1 เหมาะสมมาก

เล็บนกปัตตานี

ปลูกวิธีปักดำ และใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

568

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ โดยใช้อัตราปุ๋ยเคมีและชนิดของ ข้าว ดังนี้

ครั้งที่

สูตรปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

อัตรา (กก./ไร่)

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

อัตรา (กก./ไร่)

ระยะเวลาที่ใส่

1

16-20-0

25

30

- นาหว่าน: ข้าวอายุ 20 วัน

- นาดำ : ไม่เกิน 7 วันหลังปักดำ

2

46-0-0

-

10

ข้าวแตกกอสูงสุด 

3

46-0-0

10-15

15

ระยะกำเนิดช่อดอก 

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

อินทรียวัตถุ

(%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่      (กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่      (กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1-2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดนครศรีธรรมราช

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดนครศรีธรรมราช

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

75

ผลผลิตปานกลาง

2

450-550

10

ผลผลิตต่ำ

3

350-450

10

ผลผลิตต่ำมาก

4

<350

5

 

 

        พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีอย่างน้อย 3 พันธุ์ที่สามารถให้ผลผลิตได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ คือพันธุ์เล็บนกปัตตานี   ชัยนาท 1 และปทุมธานี 1

 

 ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

เล็บนกปัตตานี

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

627

 

ชัยนาท1 ปทุมธานี1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

679

L2

เหมาะสมปานกลาง

กาบดำ

ปลูกวิธีหว่านข้าวแห้ง

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

423

 

ชัยนาท1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

238

L3

เหมาะสมน้อย

เล็บนกปัตตานี

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

524

 

 

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ โดยใช้อัตราและชนิดของข้าว ดังนี้

ครั้งที่

สูตรปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

อัตรา (กก./ไร่)

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

อัตรา (กก./ไร่)

ระยะเวลาที่ใส่

1

16-20-0

25

30

-นาหว่าน: ข้าวอายุ 20 วัน

-นาดำ : ไม่เกิน 7 วันหลังปักดำ

2

46-0-0

-

10

ข้าวแตกกอสูงสุด

3

46-0-0

10

10

ระยะกำเนิดช่อดอก

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 อินทรียวัตถุ

ที่วิเคราะห์ได้(%)

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

   

 

จังหวัดพังงา

 

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง ดอกข่า ขาวดอกมะลิ 105 และปทุมธานี 1  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก  พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่   โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620 กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

560

L2

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

618

L3

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

414

Loc

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

322

 

 

จังหวัดพัทลุง

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ค่าระดับผลผลิต(R)

ระดับผลผลิต(กิโลกรัมต่อไร่)

อัตราร้อยละ

สูง

1

>550

82

ปานกลาง

2

450-550

2

ต่ำ

3

350-450

16

 

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

เฉี้ยงพัทลุง  สังข์หยด ช่อชบา

เข็มทอง  ยาไทร เล็บนกปัตตานี

ปักดำและหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

650

L2

เหมาะสมปานกลาง

เฉี้ยงพัทลุง  สังข์หยด ช่อชบา

เข็มทอง  ยาไทร เล็บนกปัตตานี

ปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

476

L3

เหมาะสมน้อย

เฉี้ยงพัทลุง  สังข์หยด ช่อชบา

เข็มทอง  ยาไทร เล็บนกปัตตานี

ปักดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

398

 

       การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้              

 

สูตรปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0)

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ

ที่วิเคราะห์ได้ (%)

ไนโตรเจนที่ต้องใส่

ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์

โพแทสเซียมที่สกัดได้

ข้าวไวต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ข้าวไม่ไว

ต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

< 1

9

18

< 5

6

< 60

6

1 - 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

>2

3

6

> 10

0

> 80

0

 

 

 

จังหวัดภูเก็ต

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และปทุมธานี 1  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก  พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 650 กิโลกรัมต่อไร่   โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620 กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

560

L2

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

618

L3

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

414

Loc

ดอกข่า ดอกพะยอม

ปทุมธานี 1  ขาวดอกมะลิ 105

สังข์หยดพัทลุง

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

322

 

 

จังหวัดระนอง

 

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง เล็บนกปัตตานี และดอกพะยอม   พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน แถบอำเภอกระบุรี ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก  และบางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่   

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 60

ปทุมธานี 1  สุพรรณบุรี 90

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

600-1,000

 

 

จังหวัดสงขลา

        การใช้เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องและเหมาะสม ด้วยการทำแปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ และตามค่าวิเคราะห์ดิน เปรียบเทียบกับการใช้ปุ๋ยของเกษตรกร ระหว่าง พ.ศ. 2546-2548 สามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าว โดยรวมได้ยกระดับผลผลิตข้าวในพื้นที่เหมาะสมมากของจังหวัดสงขลา ให้สูงขึ้นประมาณ 10 กิโลกรัมต่อไร่ กิโลกรัมต่อไร่ โดยการใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ให้ผลผลิตข้าวสูงสุด 651 กิโลกรัมต่อไร่ 

       

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสงขลา

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต(R)

ระดับผลผลิต(กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

40

ผลผลิตต่ำ

3

350-450

60

รวม

100

 

       

        พันธุ์ข้าวนาปีที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดสงขลา คือ เล็บนกปัตตานี เฉี้ยงพัทลุง พลายงามปราจีนบุรี และข้าวพื้นเมืองพันธุ์ เช่น นางนาค ช่อปลวก พระเอก ปากนก มาเลย์ และ ไทรบุรี กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน

 

        พันธุ์ข้าวนาปรังที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสงขลา อย่างน้อยมี 2 พันธุ์ ได้แก่ ปทุมธานี 1 และ ชัยนาท 1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมแตกต่างกัน สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 651 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ปทุมธานี 1

ชัยนาท 1

ปลูกวิธีหว่าน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

651 กก./ไร่

L3

เหมาะสมน้อย

เฉี้ยงพัทลุงเล็บนกปัตตานี

ช่อคลี

ปลูกวิธีหว่าน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

450 กก./ไร่

       

         การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,16-12-6 หรือ 16-20-0

20-25 กิโลกรัมต่อไร่

30-35 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน แยกเป็นอัตราของปุ๋ยชนิดต่าง ๆ

 

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

   

 

จังหวัดสตูล

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

       

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยดพัทลุง ชัยนาท 1  และปทุมธานี 1  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวสูงสุด  ได้มากกว่า 650 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เฉี้ยงพัทลุง  สังข์หยดพัทลุง

ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

660

L2

เฉี้ยงพัทลุง  สังข์หยดพัทลุง

ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

539

L3

เฉี้ยงพัทลุง  สังข์หยดพัทลุง

ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

545

Loc

เฉี้ยงพัทลุง  สังข์หยดพัทลุง

ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37

ปลูกวิธีปักดำ  ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

515

 

 

จังหวัดสุราษฎร์ธานี


ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2  สุพรรณบุรี 1 กข31 หอมไชยา และปทุมธานี1   พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก ปานกลาง และไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่   

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 60

ปทุมธานี 1  สุพรรณบุรี 90

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม  ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน

600-1,000